อาจารย์ ธภัทร ชัยชูโชด อาจารย์ผู้สอน
นางสาว ปิยะนุช โพธิ์ถึง นุช
นางสาว โศจิรัตน์ ตุ้ยนะ แป้ง
นางสาว วชิรญาณ์ แซ่ก๊อก ญา
นางสาว ปวีณา เคี่ยมขาว แนน
นางสาว สุนิสา หนูวงค์ กวาง
วันอาทิตย์ที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
เทคโนโลยีการสือสาร
(MODEM)
คำว่า MODEM ย่อมาจาก MOdulator - DEModulater มีหน้าที่แปลงสัญญาณข้อมูล ในบางรุ่นสามารถตรวจสอบความผิดพลาดของข้อมูลรวมถึงแก้ไขความผิดพลาดที่เกิดขึ้นได้ โมเด็มในปัจจุบันส่วนใหญ่จะมีชิปประมวลและหน่วยความจำ(ROM) อยู่ในเครื่อง
ถ้าเครื่องโมเด็มของผู้ส่งและผู้รับต่างรุ่นกัน ก็อาจจะทำให้ไม่สามารถส่ง - รับข้อมูลกันได้ เนื่องจากโมเด็มมีอัตราเร็วของการส่ง - รับข้อมูล รูปแบบการส่ง - รับข้อมูล หรือใช้คำสั่งควบคุมการทำงานของโมเด็มต่างกัน(คำสั่งที่ถือเป็นรูปแบบคำสั่งมาตราฐานของโมเด็มคือคำสั่งเฮยส์,Hayes )ดังนั้นในการเลือกใช้โมเด็มยังต้องคำนึงถึงรุ่น และยี่ห้อของเครื่องที่สามารถใช้ร่วมกันได้ รวมถึงสามรถใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีอยู่ได้ด้วย
วีธีการส่งข้อมูล
สำหรับวิธีการส่งข้อมูลของโมเด็มจะอาศัยเทคนิคการแปลงสัญญาณดิจิตอลเป็นสัญญาณอนาล็อกดังได้กล่าวมาแล้วในบทที่ 3 คือ
1. วิธีแบบ ASK (Amplitude shift Keying) ในการมอดูเลตแบบ AM
2. วิธีแบบ FSK (Freequency Shift Keying) ในการมอดูเลตแบบ FM
3. วิธีแบบ PSK (Phase Shift Keying) ในการมอดูเลตแบบ PM
4. วิธีการมอดูเลต แบบ QAM (Quadrature Amplitude Modulation) ซื่งเป็นการมอดูเลตสัญญาณข้อมูลโดยอาศัยหลักการของ AM และ PM รวมกันกล่าวคือสัญญาณข้อมูลจะรวมเข้ากับสัญญาณคลื่นพาห์เมื่อแอมปลิจูดและเฟสของสัญญาณเปลี่ยนแปลง
วิธีแบบ ASK จะใช้กับการส่งข้อมูล อัตราเร็วต่ำ วิธีแบบ FSK จะใช้ในการส่งข้อมูลด้วยอัตราเร็วปานกลาง ส่วนวิธีแบบ PSK และ QAM เราใช้ในการส่งข้อมูลอัตราเร็วสูง
รูปแบบข้อมูล
ส่วนรูปแบบของข้อมูลที่โมเด็ลส่งผ่านไปสู่สายสื่อสารสามารถแยกได้ ตามประเภทของโมเด็มคือ โมเด็มแบบ อะซิงโครนัสและโมเด็มแบบซิงโครนัส
อัตราเร็วข้อมูล
อัตราเร็วในการส่งข้อมูลแบ่งออกเป็น 3ระดับ คือ
1. อัตราเร็วต่ำประมาณ 300 บิตต่อนาที (ส่วนใหญ่เป็นโมเด็มแบบอะซิงโครนัส และใช้กับซีพียูขนาด 8 บิต)
2. อัตราเร็วปานกลาง อยู่ในช่วง 1,200 - 9,600 บิตต่อวินาที (มีทั้งโมเด็มแบบอะซิงโครนัสและแบบซิงโครนัส และใช้กับซีพียูขนาด 16 บิต)
3. อัตราเร็วสูง มากกว่า 9,600 บิตต่อวินาที (ส่วนใหญ่เป็๋นโมเด็มแบบซิงโครนัส และใช้กับซีพียูขนาด 32 หรือ 64 บิต)
คุณสมบัติ
ข้อพิจารณา ขีดความสามารถในการสื่อสารข้อมูลของโมเด็มที่ควรจะมี ได้แก่
1. สามารถตรวจสอบและแก้ไขความผิดพลาดของข้อมูลที่รับเข้ามาได้ด้วยชิบประมวลผลในโมเด็ม
2. สามารถวิเคราะห์และทดสอบข้อมูล เพื่อแยกข้อบกพร่องและความผิดพลาด
3. สามารถควบคุมการทำงานของโมเด็มได้จากผู้ใช้ หรือคอมพิวเตอร์จากที่อื่น
4. สามารถมีเครื่องโมเด็มสำรอง เพื่อใช้ทำงานแทนได้เมื่อเครื่องหลักเสีย
5. สามารถรับและส่งข่าวสารได้ทั้งเสียง ภาพ ข้อความ และข้อมูล
วันอาทิตย์ที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
ประวัติส่วนตัว
นางสาว เกษศิรินทร์ ปิ่นทองพันธ์
ชื่อเล่น นู๋อ้อม อายุ 22 ปี
กำลังศึกษาอยู่ที่มหาลัยราชภัำำำำำำำฎสงขลา
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรมโปรแกรมวิชา การจัดการอุตสาหกรรม
โดนท่านเทวดาถืบส่งมาจากบนฟ้าเมื่อวันที่ 8 มกราคม 2533
กระท้อมปลายนาหลังแรกและปัจจุบัน 317 หมู่ 5 ตำบล เขาพระ อำเภอ รัตภูมิ จังหวัด สงขลา 90180
E-mail\\ Pomzaazeed@hotmail.com
G-mail\\ Pomzaazeed@Gmail.com
โทร 089-9133981
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)